วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2555

ข้อสอบกลางภาค signal analysis ภาคต้น ๒๕๔๖

clip_image002

คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

ข้อสอบกลางภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๔๖

รายวิชา ๒๐๔๓๗๑ เทคนิคการแปลงในการวิเคราะห์สัญญาณ หมู่ที่ ๑

วันพฤหัสบดีที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ เวลา ๑๖.๐๐-๑๙.๐๐


คำสั่ง

๑. ข้อสอบมีทั้งสิ้น ๖ ข้อ ๗ หน้า (๗ แผ่น นับรวมปก) คะแนนเต็ม ๖๐ คะแนน

๒. เขียน ชื่อ‑นามสกุล และเลขประจำตัว ลงในกระดาษคำถามทุกแผ่น

๓. ทำข้อสอบทั้งหมดลงในกระดาษคำถาม

๔. เขียนคำตอบในด้านที่มีคำถามเท่านั้น อนุญาตให้ใช้หน้าที่ว่างเป็นกระดาษทดได้ แต่จะไม่นับเป็นคำตอบ

๕. ในการเขียนคำตอบ ให้ใช้ปากกาหมึกสีดำหรือน้ำเงิน หรือดินสอดำเท่านั้น

๖. อนุญาตให้นำเอกสารใดๆเข้าในห้องสอบ

๗. อนุญาตให้นำเครื่องคิดเลขใดๆเข้าในห้องสอบ

๘. ห้ามแยกข้อสอบออกจากกัน หากข้อสอบแยกออกจากกันให้แจ้งกรรมการทันที

๙. อุปกรณ์สื่อสารที่เปิดอยู่ทุกชนิด ถือเป็นการส่อเจตนาทุจริต

 


ข้อที่

รวม

คะแนนเต็ม

๑๐

๑๐

๑๐

๑๐

๑๐

๑๐

๖๐

แต้ม

             

อ.นนทวัฒน์ จันทร์เจริญ

ประธานกรรมการอำนวยการสอบ

อ.ดร.พีรวัฒน์ วัฒนพงศ์

กรรมการออกข้อสอบ

ผศ.ดร.พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า

กรรมการออกข้อสอบ


๑ (๑๐ คะแนน)

กำหนดให้นาฬิกาแบบเข็มเรือนหนึ่งซึ่งตั้งเวลาเริ่มต้นไว้ที่ ๑๒ นาฬิกา โดยเข็มนาทีจะกระโดดในตำแหน่งของนาทีเท่านั้น นาฬิกาเรือนนี้ได้รับการดัดแปลงให้อัตราเร็วรอบของเข็มนาทีสูงขึ้น clip_image007 เท่า โดยอัตราเร็วรอบของเข็มชั่วโมงเปลี่ยนตามสัดส่วน

หากเราตั้งกล้องวีดีโอซึ่งมีอัตราการสุ่มภาพ (sampling rate) เป็น ๓๐ ภาพต่อวินาที เพื่อถ่ายภาพนาฬิกาดัดแปลงเรือนนี้ แล้วเราจะนำภาพในวีดีโอมาสังเกตการที่การเคลื่อนที่ของเข็มนาฬิกา

ก. ถ้า clip_image009แล้วให้วาดภาพ ๑๐ ภาพแรกของการ sampling โดยแสดงเฉพาะตำแหน่งของเข็มยาว

clip_image010

clip_image010[1]

clip_image010[2]

clip_image010[3]

clip_image010[4]

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

ภาพที่ 4

ภาพที่ 5

clip_image010[5]

clip_image010[6]

clip_image010[7]

clip_image010[8]

clip_image010[9]

ภาพที่ 6

ภาพที่ 7

ภาพที่ 8

ภาพที่ 9

ภาพที่ 10

ข. ถ้า clip_image012แล้วนำเสนอผ่านทางจอภาพด้วยอัตราเร็ว ๖๐ ภาพต่อวินาที ให้บอกทิศทางและอัตราเร็วของเข็มนาทีว่าเป็นกี่รอบต่อวินาที

 


๒ (๑๐ คะแนน)

ให้แสดงการพิสูจน์ Inverse Fourier Transform clip_image014


๓ (๑๐ คะแนน)

กำหนดให้ clip_image016 ให้หา clip_image018


๔ (๑๐ คะแนน)

ให้คำนวณclip_image020, clip_image022 โดยที่ clip_image024


๕ (๑๐ คะแนน)

ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องสองระบบ ซึ่งต่อเชื่อมกันแบบอนุกรม โดยที่ทั้งสองระบบมี difference equation เป็น clip_image026 และ clip_image028 ตามลำดับ ถ้า clip_image030เป็นสัญญาณเข้าและ clip_image032 เป็นสัญญาณออก ให้ตอบคำถามต่อไปนี้

ก. ให้หา difference equation ของระบบโดยรวม

ข. ถ้า clip_image034 เมื่อ clip_image036ให้คำนวณหา clip_image032[1]เมื่อ clip_image038


๖ (๑๐ คะแนน)

ให้ตอบว่าระบบต่อไปนี้ เป็น causal, have memory, linear, หรือ time-invariant โดยที่ clip_image030[1]เป็นสัญญาณเข้าใดๆและ “initially at rest” โดยใส่เฉพาะเครื่องหมาย ü ในตาราง

ระบบ

casual

have memory

linear

time-invariant

clip_image041

       

clip_image043

       

clip_image045

       

clip_image047

       

clip_image049

       

clip_image051

       

clip_image053

       

clip_image055

       

clip_image057

       

clip_image059

       

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น